วันศุกร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2557

อาการของการเกิดพิษ


อาการของการเกิดพิษ

     ถ้ารับประทานหัวและใบของว่านแสงอาทิตย์จะทำให้เกิดอาการท้องเดิน หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ  และอาจเสียชีวิตได้





ส่วนที่เป็นพิษของว่านแสงอาทิตย์


ส่วนที่เป็นพิษของว่านแสงอาทิตย์

   
       ส่วนที่เป็นพิษของว่านแสงอาทิตย์ คือ หัวและใบ

      

ลักษณะของดอกว่านแสงอาทิตย์

  
    ลักษณะของดอกว่านแสงอาทิตย์
  ออกดอกในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม  โดยต้นจะพักตัวก่อนออกดอก   เมื่อดอกโรยแล้วจึงจะผลิใบ  ลักษณะดอกจะชูก้านดอกเป็นลำตรงสีเขียวอ่อน  จากกลางต้นสูงมาพ้นใบ ยาว 30-40 เซนติเมตร  ดอกมีสีแดงสดหรือแดงอมส้ม  ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุก  กลีบดอกและเกสรยาวเป็นเส้นฝอย  ช่อดอกบานเต็มที่กว้าง  12-15 เซนติเมตร  บานติดต้นอยู่ประมาณ  7-10  วัน  ดอกจึงจะโรย


วิธีการปลูกสมุนไพรว่านแสงอาทิตย์

วิธีการปลูกสมุนไพรไทยว่านแสงอาทิตย์

1.   นำดินใส่กระถาง
      





2.   นำต้นไม้ลงปลูก

3.  นำดินใส่เพื่อปิดโคนต้นไม้


4.  รถน้ำต้นไม้



นิเวศวิทยาสมุนไพรไทยว่านแสงอาทิตย์

นิเวศวิทยาสมุนไพรไทยว่านแสงอาทิตย์


    เป็นพืชที่ขึ้นตามที่ราบเชิงเขาทั่วๆ ไป ชอบแสงแดดรำไร และอากาศที่มีความชื้นสูง นิยมปลูกตามบ้านเรือนและสถานประกอบการเพื่อความเป็นสิริมงคล

ว่านแสงอาทิตย์

ว่านแสงอาทิตย์


ลักษณะทางพฤกษศาสตร์สมุนไพรไทยว่านแสงอาทิตย์
     
             ไม้ล้มลุก (ExH) ที่มีลำต้นใต้ดิน ลักษณะเป็นเหง้าซึ่งหัวออกหน่อแตกตัวไปทางด้านข้าง ติดกันคล้ายหัวข่า แต่ขนาดใหญ่กว่า ลำต้นเหนือดินเป็นกาบก้านใบมีสีเขียว ใบ เป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรีรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบมีสีเขียวนวลเป็นพรายปรอท หากโดนแสงอาทิตย์กล้าจะมีประกายส่องแสงสะท้อนออกมาแวววับ ริมใบทั้งสอบด้านจะห่อเข้าหากันอยู่เสมอ


ที่มา : www.herbs.in.th/สมุนไพรไทยว่านแสงอาทิต

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ : นางสาว กาญจนา  ทองมูล    
 ชื่อเล่น : หยก
วันเกิด : 17 มีนาคม 2541
อายุ : 16 ปี
อาหารที่ชอบ : ข้าวผัด,ก๋วยเตี๋ยว
สัตว์ที่ชอบ : แมว
กีฬาที่ชอบ : แบดมินตัน
สีที่ชอบ : สีฟ้า
น้ำหนัก : 48 กก.
ส่วนสูง : 163 ซม.
คติประจำใจ : ทำวันนี้ให้ดีที่สุด